หลักสูตร

สาขาวิชาการปกครอง

หลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการปกครอง

ข้อมูลหลักสูตร

  1. ภาษาไทย : หลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการปกครอง
    ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Political Science Program in Government
  1. ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
    ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) : รัฐศาสตรบัณฑิต (การปกครอง)
    ชื่อย่อ (ภาษาไทย) : ร.บ. (การปกครอง)
    ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ) : Bachelor of Political Science (Government)
    ชื่อย่อ (ภาษาอังกฤษ) : B.Pol.Sc. (Government)
  2. วิชาเอกเดี่ยว
    ไม่มี
  1. จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร
    137 หน่วยกิต
  2. รูปแบบของหลักสูตร 
    5.1 รูปแบบ
    หลักสูตรระดับปริญญาตรี 4 ปี
    5.2 ประเภทของหลักสูตร
    หลักสูตรปริญญาทางวิชาการ
    5.3 ภาษาที่ใช้
    ภาษาไทย
    5.4 การรับเข้าศึกษา
    นักศึกษาไทย และนักศึกษาต่างชาติที่สามารถใช้ภาษาไทยได้เป็นอย่างดี
    5.5 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น
    เป็นหลักสูตรเฉพาะของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ที่จัดการเรียนการสอนโดยตรง
    5.6 การให้ปริญญาแก่ผู้สาเร็จการศึกษา
    ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว

จุดเด่น

พัฒนาผู้เรียนให้เป็นบัณฑิตทางด้านรัฐศาสตร์ที่มีความรู้ ความสามารถทางวิชาการตามแนวพระพุทธศาสนาและตามหลักวิชาการสากล ทั้งในมิติการเมืองในประเทศและการเมืองระหว่างประเทศ และมีคุณลักษณะสอดคล้องกับความมุ่งหมายทางการศึกษาและปรัชญาของหลักสูตร เป็นกำลังที่สำคัญของภาครัฐ ภาคเอกชนและภาคประชาสังคม เพื่อการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืนตามแนวพระพุทธศาสนา


คุณสมบัติผู้สมัคร

  • เป็นผู้สำเร็จการศึกษามัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า

จบแล้วทำอาชีพอะไร

  • บัณฑิตสามารถประกอบอาชีพ ด้านการปกครอง บริหาร นโยบายและแผนได้ทุกหน่วยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ องค์กรอิสระ บริษัทเอกชน และอื่น ๆ
  • องค์กรภาครัฐและรัฐวิสาหกิจ ได้แก่ ปลัดอำเภอ ตำรวจ ทหาร อนุศาสนาจารย์ บุคลากรทางการศึกษาของรัฐ นักวิจัย นักการทูต นักบริหารทรัพยากรมนุษย์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผน นักการเมืองท้องถิ่น นักการเมืองระดับชาติ เจ้าหน้าที่ศาลปกครอง
  • องค์การภาคเอกชน ได้แก่ พนักงานธนาคาร พนักงานสถาบันการเงิน เจ้าหน้าที่บริหารงานบุคคล เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป นักสื่อสารมวลชน
  • องค์กรอิสระ ได้แก่ พนักงานในหน่วยงานขององค์กรอิสระ องค์การมหาชน องค์การไม่แสวงหากำไร
  • องค์การระหว่างประเทศ ได้แก่ เจ้าหน้า UN, IMF, UNDP, สำนักงานเลขาธิการ ASEAN
  • องค์การคณะสงฆ์ ได้แก่ เจ้าหน้าที่สำนักงานพระพุทธศาสนาประจำจังหวัด ศาสนพิธีกร พระธรรมทูต พระนักเผยแผ่ พระนักพัฒนา

สาขาวิชาการปกครอง Read More »

สาขาวิชาพุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนา

สาขาวิชาพุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนา
(หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2562)

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา              มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย

วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา          คณะศาสนาและปรัชญา/ภาควิชาพุทธศาสตร

1.  รหัสและชื่อหลักสูตร

หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป

รหัสหลักสูตร :     25491861110441

ภาษาไทย     :     ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนา

ภาษาอังกฤษ :     Bachelor of Arts Program in Buddhist Studies for Development

2.  ชื่อปริญญาและสาขาวิชา

ชื่อเต็ม (ภาษาไทย)        :   ศิลปศาสตรบัณฑิต (พุทธศาสตรเพื่อการพัฒนา)

ชื่อย่อ (ภาษาไทย)         :   ศศ.บ. (พุทธศาสตรเพื่อการพัฒนา)

ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ)    :   Bachelor of Arts (Buddhist Studies for Development)

ชื่อย่อ (ภาษาอังกฤษ) :       B.A. (Buddhist Studies for Development)

3.  วิชาเอก

พุทธศาสตรเพื่อการพัฒนา

4.  จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร

132 หน่วยกิต

5.  รูปแบบของหลักสูตร

5.1 รูปแบบ

หลักสูตรระดับปริญญาตรี 4 ปี

5.2 ประเภทของหลักสูตร

หลักสูตรปริญญาตรีทางวิชาการ

5.3 ภาษาที่ใช้

ใช้ภาษาไทยและภาษาอังกฤษในการเรียนการสอน

5.4 การรับเข้าศึกษา

นักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างชาติที่มีทักษะในการใช้ภาษาไทยและภาษาอังกฤษได้

5.5 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น

เป็นหลักสูตรเฉพาะของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ที่จัดการเรียนการสอนโดยตรง

5.6 การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา

ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว

6.  สถานภาพของหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร

6.1 เป็นหลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2562 ปรับปรุงจากหลักสูตรศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพุทธศาสตร์ พ.ศ. 2559

6.2 สภาวิชาการเห็นชอบหลักสูตรของมหาวิทยาลัย ในการประชุมครั้งที่ 7/2562 วันที่ 4 เดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2562

6.3 สภามหาวิทยาลัย อนุมัติหลักสูตรในการประชุมครั้งที่ 9/2562 วันที่ 27 เดือน กันยายน พ.ศ. 2562

6.4 มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2563

7.  ความพร้อมในการเผยแพร่หลักสูตรที่มีคุณภาพและมาตรฐาน

หลักสูตรมีความพร้อมเผยแพร่ว่าเป็นหลักสูตรที่มีคุณภาพและมาตรฐาน คุณวุฒิระดับปริญญาตรีตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ ในปีการศึกษา 2565

8.  อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา

8.1 พระธรรมทูต /พระสังฆาธิการ/อนุศาสนาจารย์/นักวิชาการศาสนา/เจ้ำหน้าที่สำนักงานพระพุทธศาสนา/เจ้าหน้าที่กรมการศาสนา

8.2 นักวิชาการด้านพุทธศาสตร์/บุคลากรทางการศึกษส/วิทยากร/พัฒนากร/นักพัฒนาสังคม/นักพัฒนาชนบท/พนักงานพัฒนาทรัพยากรบุคคล/นักวิชาการกระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์

8.3 ข้าราชการ/พนักงานของรัฐ/องค์การมหาชนที่เกี่ยวข้อง

8.4 นักเขียน/นักประพันธ/นักวิจารณ์/นักวิจัย

8.5 ผู้นำในการพัฒนาชุมชน และอาชีพอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง

สาขาวิชาพุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนา Read More »